EVERYTHING ABOUT โรครากฟันเรื้อรัง

Everything about โรครากฟันเรื้อรัง

Everything about โรครากฟันเรื้อรัง

Blog Article

งดสูบบุหรี่ เพราะการสูบบุหรี่อาจทำให้ช่องปากเกิดการระคายเคืองและทำให้เกิดโรคต่าง ๆ ในช่องปากได้

จดจำฉัน ลืมรหัสผ่าน? ไม่มีบัญชีผู้ใช้งาน?

Important cookies are Certainly important for the website to function properly. These cookies be certain primary functionalities and safety features of the website, anonymously.

สุขภาพฟันเด็ก ฟลูออไรด์ต้องเพียงพอ

มีคนไข้หลายคนละเลยปล่อยฟันให้ผุทิ้งไว้ไม่รักษา และอุดฟันให้เรียบร้อยทำให้โรคฟันลุกลามทำลายฟันมากขึ้นเรื่อยๆ จนถึงชั้นโพรงประสาทฟัน เกิดการอักเสบและมีฝีหรือถุงหนองที่ปลายรากฟัน มีอาการปวดทรมาน ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรค คอยบ่อนทำลายสุขภาพร่างกายอย่างเรื้อรัง จนจำเป็นต้องถอนฟันไปแล้วมิใช่น้อย แต่เมื่อเกิดความต้องการแก้ไขด้วยการรักษาฟันไว้ ไม่อยากถอนออกจากปากก็แทบจะสายเสียแล้ว

ทพญ. กุลนันทน์ ดำรงวุฒิ ทันตแพทย์ผู้ชำนาญการด้านทันตกรรมการรักษารากฟัน ประวัติแพทย์ นัดหมายแพทย์

ข. การรักษาเนื้อเยื่อปริทันต์ที่อักเสบ: มีหลากหลายวิธี ขึ้นกับความรุนแรงของอาการ และดุลพินิจของแพทย์/ทันตแพทย์ ซึ่งการรักษาโรคปริทันต์ต้องใช้ระยะเวลาในการรักษานานหลายสัปดาห์ และต้องเป็นการรักษาต่อเนื่องตามคำแนะนำของแพทย์/ทันตแพทย์ การรักษาต่างๆ เช่น การใช้ยาปฏิชีวนะ การขูดหินปูน การรักษาเหงือกอักเสบ การรักษารากฟัน, และ

ทันตแพทย์รักษารากฟันที่มีประสบการณ์

เหงือกบวม การอักเสบในรากฟัน และโพรงประสาทฟันยังสามารถลุกลามมายังเหงือกโดยรอบทำให้เหงือกบวม หรือมีเลือดออกเวลาแปรงฟันได้

ทั้งนี้ หน้าที่ของเนื้อเยื่อปริทันต์ คือ เพื่อช่วยให้ฟันมีประสิทธิภาพในการทำงานบดเคี้ยวอาหาร และช่วยไม่ให้ฟันเกิดการโยกคลอน โดย

ในช่วงเวลาของการรักษารากฟัน ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงการบดเคี้ยวบริเวณฟันที่ได้รับการรักษา เนื่องจากทันตแพทย์จะทำการอุดปิดโพรงฟันแบบชั่วคราวเท่านั้น ดังนั้นฟันซี่นั้นจึงไม่มีความแข็งแรงมากพอที่งานได้ตามปกติ จึงยังไม่ควรใช้ฟันกัดหรือเคี้ยวอาหารแข็งถ้าหากว่ายังไม่ได้บูรณะตัวฟันให้แข็งแรง เพราะอาจทำให้ฟันแตกหรือหักได้

โรคหรือภาวะอื่น ๆ เช่น โรคเหงือกอักเสบ ภาวะขาดสารอาหาร ภาวะขาดวิตามินซี โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ โรคโครห์น เป็นต้น

เนื้อเยื่อในฟันเป็นศูนย์รวมของเส้นประสาทและเส้นเลือดจำนวนมาก เมื่อทันตแพทย์เข้าไปทำการรักษารากฟันอาจทำให้เกิดอาการเจ็บปวดได้ โดยความรุนแรงของอาการเจ็บปวดจะขึ้นอยู่กับระดับการอักเสบ โรครากฟันเรื้อรัง โดยทันตแพทย์อาจพิจารณาใส่ยาชาเฉพาะที่ในขั้นตอนก่อนการรักษาเพื่อช่วยไม่ให้รู้สึกเจ็บระหว่างการรักษา โดยหลังการรักษาอาการเจ็บปวดจะค่อย ๆ ทุเลาลงเนื่องจากเนื้อเยื่อที่อักเสบและติดเชื้อที่เป็นสาเหตุของอาการเจ็บปวดได้ถูกกำจัดออกไปแล้ว

กรณีอาการรุนแรง/ติดเชื้อรุนแรง จะมี

Report this page